HIV DATA เอดส์ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด มารู้จักโรคเอดส์ การป้องกัน และอยู่ร่วมกันกับเชื้อ HIV

Monday, August 10, 2009

การวินิจฉัยโรคติดเชื้อฉวยโอกาส

เชื้อไวรัสเอดส์ (HIV) เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไปจับกับเซลล์เป้าหมาย คือ เซลล์ลิมโฟซัยม์ ชนิด T helper หรือ CD4 จากนั้นเชื้อจะเข้าสู่เซลล์อาจจะแฝงอยู่ในเซลล์โดยไม่แสดง อาการใด เมื่อเซลล์ถูกกระตุ้นจะทำให้มีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนยีโนมของเชื้อไวรัส และถูกปล่อยออกจากเซลล์เข้าสู่เซลล์เป้าหมายอื่นต่อไป ทำให้จำนวนเซลล์ CD4 ใน ผู้ติดเชื้อจะลดลงเรื่อยๆ จนถึงระดับหนึ่งทำให้ระบบภูมิคุ้มกันของผู้ติดเชื้อ ไม่สามารถ ต่างๆ หรือเซลล์มะเร็งที่เข้าสู่ร่างกายได้ เป็นโอกาสที่ทำให้มีการติดเชื้อจากจุลชีพ เหล่านี้ กำจัดจุลชีพที่รุนแรงและลุกลามเข้าสู่อวัยวะภายในทั่วร่างกาย ซึ่งเชื้อจุลชีพนี้ ได้แก่ เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เชื้อปาราสิต และเชื้อไวรัสอื่นๆ ทำให้เกิดโรคฉวยโอกาสเข้าแทรกซ้อน
โรคฉวยโอกาสที่พบ ในผู้ติดเชื้อหรือผู้ป่วยเอดส์ที่รายงาน ได้แก่


โรคติดเชื้อ (Infection) จาก

เชื้อปาราสิต
Cryptosporidiosis, Toxoplasmosis, Isosporiasis, Microsporidiosis, Pneumocystis carinii pneumonia, Strongiloidosis, Giardiasis, Entamoeba histolytica infection

เชื้อรา
Penicillosis, Cryptococcosis, Candidiasis, Tenea vesicolor, Coccidiodomycosis, Mucormycosis, Blastomycosis, Aspergillosis, Histoplasmosis, , Nocardiosis, Torulopsis infection

เชื้อแบคทีเรีย
Tuberculosis, Atypical mycobacterium infection, Salmonellosis (non typhi), Encapsulated bacterial infection

เชื้อไวรัส
Herpes simplex infection, Varicella-zoster virus infection, Molluscum contagiosum, Cytomegalovirus (CMV) infection, Epstein-Barr virus infection


ในประเทศไทยมีอุบัติการของโรคติดเชื้อฉวยโอกาสในผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ต่างกันไปตามภูมิภาค โดยพบว่า
วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่พบมากเป็นอันดับ 1 รองลงมาคือ Cryptococcosis และ Pneumocystis carinii
pneumonia (PCP)

0 comments:

Post a Comment


PHA : People living with HIV and AIDS In Thailand.

ข่าวเด่นกระทรวงสาธารณสุข


เกาะสถานการณ์สาธารณสุข


หยุดสร้างบุญบนธุรกิจบาป ยุติธุรกิจเด็กขอทาน

PANTIP.COM : Cafe โต๊ะสวนลุมพินี

News

ข้อมูลเพิ่มเติม

กองโรคเอดส์ กรมควบคุมโรคติดต่อ
โทร. 5918411, 5903201

กองระบาดวิทยา สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โทร.5918577, 5901778, 5901783

ขำขำ คลายเครียด

โปรแกรมฟรี + key gen

  © Blogger template Blue Surfing by Ourblogtemplates.com 2008

Back to TOP